...

นาย กฤษดา คะสุวรรณ์

หัวข้องานวิจัย
การผลิตภาพยนตร์ปฏิสัมพันธ์ (Interactive film Production)
ความเชี่ยวชาญ
ข้อมูลทั่วไป
เลขประจำตัวนักวิจัย 1 (ISNI ID)
เลขประจำตัวนักวิจัย 2 (ORCID ID)
เลขประจำตัวนักวิจัย 3 (WoS ID)
ข้อมูลการศึกษา
มหาวิทยาลัยที่จบการศึกษา
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะที่จบการศึกษา
คณะวิทยาการสารสนเทศ
สาขาที่จบการศึกษา
สาขานิเทศศาสตร์ เอกวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
ปีที่จบการศึกษา
2014
ระดับการศึกษา
ปริญญาตรี
ข้อมูลการทำงาน
หน่วยงานปัจจุบัน
บริษัท เฟลโลเบทเทอร์จำกัด
ตำแหน่งาน
นักวิจัย
ปีที่เข้าทำงาน
2022
ที่ตั้งหน่วยงาน
145/49 ถนนถีนานนท์ ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จ.มหาสารคาม 44000
รางวัล
ปีที่ได้รับ
ชื่อรางวัล
ผู้จัดตั้ง
ประวัติการวิจัย
ปีที่ทำวิจัย
2022
ชื่อวิจัย
การผลิตภาพยนตร์ปฏิสัมพันธ์ (Interactive film Production)
รายละเอียดวิจัย
ในกระบวนการของภาพยนตร์ ขั้นตอนสุดท้ายคือการเผยแพร่ภาพยนตร์ (Distribution) ผู้ชมภาพยนตร์ถือว่าเป็นปัจจัยหลักที่จะส่งผลให้เกิดความนิยมในภาพยนตร์เรื่องนั้น ๆ จนก่อให้เกิดรายได้มหาศาล ที่สำคัญหากภาพยนตร์สามารถดึงผู้ชมเข้าไปมีความรู้สึกร่วมแล้วนั้น เชื่อมั่นได้ว่าภาพยนตร์เรื่องนั้นต้องประสบความสำเร็จด้านรายได้อย่างแน่นอน การดึงผู้ชมเข้ามามีส่วนร่วมมีหลากหลายประเด็น เช่น การเล่าเรื่องที่เข้าถึงจิตใจของผู้ชม การสร้างความเป็นเจ้าของ การพยายามสร้างเนื้อหาของเรื่องให้มีความเป็นสากล ฯลฯ การมีส่วนร่วมของผู้ชมจึงเป็นประเด็นที่น่าสนใจในอีกมิติหนึ่งกล่าวคือหากผู้ชมสามารถเลือกตอน เลือกเนื้อหา เลือกโครงเรื่องที่ตนเองอยากรับชมได้ผ่านภาพยนตร์ที่สามารถโต้ตอบกับผู้ชมได้ ยิ่งจะทำให้ผู้ชมกลายเป็นผู้มีส่วนร่วมในภาพยนตร์เรื่องนั้นๆ และยิ่งจะสร้างประสบการณ์ใหม่ให้ผู้ชมได้อย่างดี ยกตัวอย่างเช่น ภาพยนตร์อินเตอร์แอคทีฟ ที่เผยแพร่ใน Netflix เรื่อง “ผจญภัยสุดขั้วกับแบร์ กริลส์ เดอะ มูฟวี่” , "ผจญภัยสุดขั้วกับรานวีร์" ภาพยนตร์ทั้งสองเรื่องผู้ชมสามารถเลือกให้ตัวละครดำเนินเรื่องผ่านความต้องการของผู้ชมแต่ละคนได้โดยการเลือกเมนูจากหน้าจอภาพยนตร์ ซึ่งในกระบวนการผลิตนั้นต้องประกอบไปด้วยการมีโครงสร้างการเล่าเรื่องที่มีมากกว่า 1 โครงสร้างตลอดทั้งต้องมีการพัฒนาผู้เขียนโปรแกรมมควบคุมภาพยนตร์เพื่อเชื่อมต่อไปยังผู้ชมด้วย ที่สำคัญ ในภาพยนตร์ไทยยังไม่ปรากฏว่ามี ภาพยนตร์อินเตอร์แอ๊คทีฟ (Interactive films) ออกฉาย ดังนั้นผู้รับผิดชอบโครงการจึงเห็นสมควรว่าหากเราสามารพัฒนาภาพยนตร์อินเตอร์แอ๊คทีฟ (Interactive films) ออกฉาย ให้สามารถเข้าถึงความต้องการของผู้ชมที่หลากหลายได้แล้วนั้นจะส่งผลต่อรายได้อย่างมหาศาล อีกทั้งยัง สามารถพัฒนาบุคลากรด้านภาพยนตร์ ในมิติทางด้านความเจริญก้าวหน้าทางงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารต่อไป
นักวิจัยพี่เลี้ยง
วุฒิการศึกษา
สาขา
E-mail
เลขประจำตัวนักวิจัย 1 (ISNI ID)
เลขประจำตัวนักวิจัย 2 (ORCID ID)
เลขประจำตัวนักวิจัย 3 (WoS ID)